ADD US ON LINE
LINE ID: FIRSTMEDINC
info@firstmedinc.com
Inventory
Thailand, Australia, USA, India
ดังที่คุณอาจได้เห็นจากกรณีศึกษาการดีท็อกซ์วัคซีนและการช่วยเหลือผู้ป่วยที่แพ้วัคซีนขั้นรุนแรงของเรา เช่นในกรณีของผู้ป่วยที่แพ้วัคซีนป้องกันโควิด-19 ยี่ห้อไฟเซอร์ โดยหลังจากผู้ป่วยรายนี้ได้รับวัคซีนดังกล่าวทำให้เขาได้ป่วยเป็น “โรคงูสวัด”
โดยทีมงานของเราได้เข้าไปรักษาอาการป่วยของผู้ป่วยรายนี้ และประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก รวมถึงได้รักษาผู้ป่วยหลายรายที่มีปัญหาผิวหนังนี้และปัญหาผิวอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกัน โดยการกำหนดเป้าหมายที่เป็นสาเหตุของการอักเสบภายในและหยุด (DNA) ที่ดัดแปลงพันธุกรรมของร่างกายที่ผลิตโปรตีนที่เป็นพิษ ซึ่งนับได้ว่าการได้เข้าไปช่วยเหลือผู้ป่วยที่เกิดจากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 นั้นได้ประสบผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี
สื่อต่างๆ ทั่วโลกได้ผลักดันการโฆษณาชวนเชื่อเรื่องโรคฝีดาษลิง (Monkeypox) อย่างหนักในช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผ่านมาโดยจุดมุ่งหมายของสื่อต่างๆ ทั่วโลกคือปลุกระดมประชาชนให้มีความหวาดกลัวต่อโรคฝีดาษลิง (Monkeypox) ซึ่งลักษณะก็คือนำเสนอข่าวในลักษณะที่สร้างความหวาดกลัวต่อประชาชนที่มากเกินไปโดยขาดการเสนอข้อเท็จจริง ซึ่งการกระทำในลักษณะนี้ได้สร้างความตื่นตระหนกของประชาชนเป็นอย่างมาก
ในขณะท่าทีของรัฐบาลต่างๆ ทั่วโลกได้กระตุ้นให้หน่วยงานต่างๆ ได้ออกมาช่วยเหลือประเทศที่ยากจนโดยเฉพาะอย่างยิ่งสภาเศรษฐกิจโลก (WEF) และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ให้ได้มีความเตรียมความพร้อมด้านการเงินในการออกเงินกู้ช่วยเหลือประเทศที่ยากจนที่ได้เผชิญกับโรคฝีดาษลิงในขณะนี้
หากช่วงสองปีที่ผ่านภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สื่อต่างๆ ทั่วโลกได้เผยแพร่ข่าวที่เป็นทั้งเรื่องการโกหก ความหวาดกลัว สถิติปลอม การรายงานของสื่อที่ลำเอียง และการจงใจเผยแพร่ข่าวการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ขาดข้อเท็จจริง ซึ่งทั้งหมดเหล่านี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จของสื่อที่ได้สร้างความหวาดกลัวต่อประชาชน
แล้วเราได้เรียนรู้อะไรจากการสร้างความหวาดกลัวเหล่านี้บ้างละ ? ความตื่นตระหนกเห็นทีจะเป็นผลเสียมากกว่าผลดี ทั้งผู้คนตกงาน ขาดรายได้ การขาดแคลนอาหาร ผู้ป่วยล้นโรงพยาบาล และอื่นๆ อีกมากมาย ท้ายที่สุดแล้วผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้นล้วนแต่ส่งผลต่อประชาชนทั้งสิ้น
ด้านล่างนี้เป็นหลักฐานเพิ่มเติมว่าสื่อเหล่านี้ไม่สามารถเชื่อถือได้
ภาพปลอมเพื่อบรรยายเรื่องเท็จ เช่นเดียวกับที่สื่อทั่วโลกได้ฉายภาพโรงพยาบาลที่ “ล้น” หากการเสพสื่อที่ไม่ได้ผ่านการคิดวิเคราะห์ตามหลักเหตุผล ภาพเหล่านั้นได้บรรยายว่าเป็นภาพที่น่ากลัว สะเทือนใจเป็นอย่างยิ่ง
หากการเสพสื่ออย่างมีสติ วิเคราะห์ตามข้อเท็จจริงจะพบว่าบางภาพไม่มีความเป็นจริง บางภาพผ่านการตกแต่งที่เกินจริง ยกตัวอย่างเช่น “ภาพของผู้ป่วยที่ล้นเตียงที่โรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลีย” หากการวิเคราะห์แล้วจะพบว่าภาพเหล่านั้นไม่ได้เป็นผู้ป่วยจริงๆ แต่เป็นภาพของหุ่น ที่ไม่ใช่มนุษย์จริงๆ เพื่อแสร้งทำเป็นว่าโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียในขณะนี้กำลังประสบปัญหาที่ยากลำบาก
และเมื่อไม่นานที่ภาพผู้ป่วยล้นโรงพยาบาลในสหรัฐอเมริกาและออสเตรเลียได้เผยแพร่สู่สาธารณชน ต่อมาสำนักข่าว (CBS News) ของสหรัฐอเมริกาได้ออกมาขอโทษต่อสาธารณชนว่าภาพเหล่านั้นไม่เป็นความจริง ผ่านการตัดต่อ
และต่อไปนี้คือข่าว “โรคฝีดาษลิง” ปลอมล่าสุดจากนักโฆษณาสื่อกระแสหลัก ใช้ภาพเก่าเมื่อหลายปีก่อน เพื่อเผยแพร่ความกลัวและความหวาดระแวง แทนหรือแสดงภาพจริงของผู้ป่วยจริงที่เป็นโรคฝีดาษลิงในอดีต (หากมีจริง) ในปี พ.ศ. 2565
ดังนั้นในเมื่อเราไม่สามารถเชื่อถือข่าวกระแสหลักในการรายงานอย่างตรงไปตรงมา เราจะไว้ใจใครได้? เราจะรู้ได้อย่างไรว่าข่าวไหนที่เป็นความจริงและข่าวไหนที่เป็นข่าวปลอม?
เป็นที่แน่ทราบกันอยู่แล้วว่าการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของรัฐบาลต่างๆ ทั่วโลกนั้น ประสบผลสำเร็จเชิงตัวเลข แต่ในแง่ของคุณภาพการฉีดวัคซีนนั้นไม่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างยิ่ง อีกทั้งผู้ที่ได้รับเคราะห์ร้ายนั้นก็คือประชาชนนั่นเอง จะเห็นได้จากหลังจากที่ประชาชนได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 อัตราการป่วยหลังจากฉีดวัคซีนได้เพิ่มขึ้นทวีคูณเป็นเท่าตัว บางรายป่วยมาก บางรายป่วยน้อย
ยกตัวอย่างอาการของ “โรคงูสวัด” ซึ่งเป็นโรคที่พบหลังจากที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด- 19 มากที่สุด อันเนื่องมาจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายของผู้ที่ได้รับวัคซีนนั้นอ่อนแอลง โดยอาการของโรคงูสวัดจะถูกนำมาอ้างว่าอาการต่างๆ เหล่านี้ไม่ได้เป็นผลมาจากการฉีดวัคซีน แต่อาการของโรคงูสวัดได้ถูกนำมาอ้างอิงจากอาการของ “โรคฝีดาษลิง” หรือ (monkeypox) เพื่อเป็นแพะรับบาป และเพื่อเป็นหลีกเลี่ยงการกล่าวโทษความผิดจากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19
เราไม่สามารถการันตีผลการรักษาสำหรับคนที่เป็นโรคงูสวัดที่เป็นอยู่แล้ว (ไม่ได้เกิดจากวัคซีนป้องกันโควิด-19) แต่เราประสบความสำเร็จในการรักษาผู้ที่เป็นโรคงูสวัดอันเนื่องมาจากการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของประชาชน
จากประสบการณ์การรักษาผลข้างเคียงที่ร้ายแรงวัคซีนป้องกันโควิด-19 ยี่ห้ออื่นๆ ก็ทำให้เกิดอาการเหล่านี้ได้เช่นกัน คุณสามารถดู “ผลข้างเคียง” ของโรคงูสวัดตามรายการด้านล่าง ซึ่งนำมาจากผลข้างเคียงของการฉีดวัคซีนยี่ห้อไฟเซอร์
หากคุณได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 แล้วและมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบด้านสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นซึ่งยังมาไม่ถึง หรือกำลังทุกข์ทรมานจากผลข้างเคียงที่เห็นได้ชัดเจน หรือรู้สึกว่าสุขภาพของคุณค่อยๆ แย่ลงหลังจากการฉีดวัคซีน เราขอแนะนำเป็นอย่างยิ่งให้ดูแลสุขภาพของคุณ และพยายามดีท็อกซ์ให้เร็วที่สุด คุณสามารถดูผลการรักษาของเราได้จากเว็ปไซต์ของเราได้ หรือติดต่อทีมงานของเราเพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาทางเลือกอื่นๆ ที่เรากำลังทดสอบเพื่อหยุดผู้คนที่เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์อย่างช้าๆ